Home / การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment: OIT) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567

การเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment: OIT) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567

มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการประเมินระดับการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะของหน่วยงาน เพื่อให้ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึงได้
ในตัวชี้วัดการเปิดเผยข้อมูล และการป้องกันการทุจริต สำหรับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงาน
ของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567

ข้อ ข้อมูล องค์ประกอบด้านข้อมูล รายละเอียด OIT
O1 โครงสร้างหน่วยงาน – แสดงแผนผังแสดงโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการของหน่วยงาน
– ประกอบด้วยตําแหน่งที่สําคัญ และการแบ่งส่วนงานภายใน เช่น สํานัก กอง ศูนย์ ฝ่าย ส่วน กลุ่ม เป็นต้น
O2 ข้อมูลผู้บริหาร – แสดงรายนามของผู้บริหารของหน่วยงาน
– ประกอบด้วยชื่อ-นามสกุล ตําแหน่ง รูปถ่าย ช่องทางการติดต่อ ผู้บริหารสูงสุดหรือหัวหน้าหน่วยงาน และผู้ดํารงตําแหน่งทางการบริหารของหน่วยงาน
O3 อำนาจหน้าที่ – แสดงข้อมูลหน้าที่และอำนาจของหน่วยงานตามที่กฎหมายกำหนด
O4 แผนยุทธศาสตร์หรือแผนพัฒนาหน่วยงาน – แสดงแผนการดำเนินภารกิจของ สพร. ที่มีระยะมากกว่า 1 ปี
– มียุทธศาสตร์ แนวทาง เป้าหมายตัวชี้วัด
– เป็นแผนที่มีระยะเวลาบังคับใช้ครอบคลุมปี พ.ศ. 2564
O5 ข้อมูลการติดต่อ – แสดงข้อมูลการติดต่อ (ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ ที่อยู่ไปรษณีย์อิเล็คทรอนิกส์ แผนที่ตั้ง สพร.)
O6 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง -แสดงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดําเนินงานหรือการปฏิบัติงานของหน่วยงาน
O7 ข่าวประชาสัมพันธ์ – แสดงข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดําเนินงานตามอํานาจ หน้าที่หรือภารกิจของหน่วยงาน
– เป็นข้อมูลข่าวสารที่เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2564
O8 Q&A (ถาม-ตอบ) – แสดงช่องทางที่บุคคลภายนอกสามารถสอบถามข้อมูลต่าง ๆ ได้ และหน่วยงานสามารถสื่อสารให้คําตอบกับผู้สอบถามได้ โดยมีลักษณะ เป็นการสื่อสารได้สองทาง เช่น Web board, กล่องข้อความถาม-ตอบ เป็นต้น
– สามารถเชื่อมโยงไปยังช่องทางข้างต้นได้จากเว็บไซต์หลักของ หน่วยงาน
สพร.

สพฐ.

O13 คู่มือหรือมาตรฐานการปฏิบัติงาน – แสดงคู่มือหรือแนวทางการปฏิบัติงานเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานใช้ยึดถือปฏิบัติให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน

– มีข้อมูลรายละเอียดของการปฏิบัติงาน อย่างน้อยประกอบด้วย เป็นคู่มือปฏิบัติภารกิจใด สำหรับเจ้าหน้าที่หรือพนักงานตำแหน่งใด กำหนดวิธีการขั้นตอนการปฏิบัติอย่างไร

– จะต้องมีอย่างน้อย 1 คู่มือ

O15 ข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ – แสดงข้อมูงสถิติการให้บริการของหน่วยงาน
– สามารถจัดทำสถิติข้อมูลเป็นแบบรายเดือน หรือรายไตรมาสที่มีข้อมูลครอบคลุมในระยะเวลา 6 เดือนแรกของปี พ.ศ. 2565
(รอข้อมูล)
O16 รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจ
การให้บริการ
– แสดงผลสำรวจความพึงพอใจการให้บริการของหน่วยงาน
– เป็นรายงานผลของปี พ.ศ. 2564
(รอข้อมูล)
O25 นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล – เป็นนโยบายหรือแผนการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลที่ยังใช้บังคับในหน่วยงานในปี พ.ศ. 2565
– แสดงนโยบายของผู้บริหารสูงสุดหรือแผนการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลที่กำหนดในนามของหน่วยงาน
O26 การดำเนินการตามนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล – แสดงการดำเนินการที่มีความสอดรับตามนโยบายหรือแผนการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลในข้อ 025
– เป็นการดำเนินการในปี พ.ศ. 2565
O27 หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล แสดงหลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลที่ยังใช้บังคับในหน่วยงานในปี พ.ศ. 2565 อย่างน้อยประกอบด้วย
– การสรรหาและคัดเลือกบุคลากร
– การบรรจุและแต่งตั้งบุคลากร
– การพัฒนาบุคลากร
– การประเมินผลการปฏิบัติงานบุคลากร
– การให้คุณให้โทษและการสร้างขวัญกำลังใจ* กรณีหน่วยงานใช้หลักเกณฑ์ขององค์กรกลางบริหารงานบุคคล หน่วยงานสามารถนำหลักเกณฑ์ดังกล่าวเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน
O28 รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล ประจำปี – แสดงผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
– มีข้อมูลรายละเอียดการดำเนินการ อย่างน้อยประกอบด้วย ผลการดำเนินการตามนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล ผลการวิเคราะห์การบริหารและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
– เป็นรายงานผลของปี พ.ศ. 2564
O33 การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม – แสดงการดำเนินการหรือกิจกรรมที่แสดงถึงการเปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกได้มีส่วนร่วมในการดำเนินงานตามภารกิจของหน่วยงาน
– เป็นการดำเนินการในปี พ.ศ. 2565
(รอข้อมูล)
O35 การมีส่วนร่วมของผู้บริหาร – แสดงการดำเนินการหรือกิจกรรมที่มีส่วนร่วมของผู้บริหารสูงสุด
– เป็นการดำเนินการหรือกิจกรรมที่แสดงให้เห็นถึงการให้ความสำคัญกับการปรับปรุง พัฒนา และส่งเสริมหน่วยงานด้านคุณธรรมและโปร่งใส
– เป็นการดำเนินการในปี พ.ศ. 2565
038 การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร
ตามมาตรฐานทางจริยธรรม
– แสดงถึงการเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรให้เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานมีทัศนคติ ค่านิยมในการปฏิบัติงานอย่างซื่อสัตย์สุจริต มีจิตสำนึกที่ดี รับผิดชอบต่อหน้าที่ ตามมาตรฐานทางจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
– เป็นการดำเนินการที่หน่วยงานเป็นผู้ดำเนินการเอง
– เป็นการดำเนินการในปี พ.ศ. 2565
สพร.

สพฐ.